Tel : 043-754-321 to 40 extension : 4703, 4704 Fax : 043-754-369 [email protected]
เลือกหน้า
รศ.ดร.เกียรติศักดิ์ บังเพลิง

รศ.ดร.เกียรติศักดิ์ บังเพลิง

ตำแหน่ง : รองศาสตราจารย์
E-mail : [email protected]
โทรศัพท์ : ภายใน 4783

ประวัติการศึกษา :

      – ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (มานุษยวิทยา) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (2558)
      – อักษรศาสตรมหาบัณฑิต (ปรัชญา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2548)
      – พุทธศาสตรบัณฑิต (ปรัชญา) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย (2545)
      – ประกาศนียบัตรวิชาภาษาอังกฤษเฉพาะอาชีพ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (2545)

 ผลงานทางวิชาการ :

ภาษาไทย

      – เกียรติศักดิ์ บังเพลิง. (2550). ศีลธรรมกับกฎหมายในมุมมองของพุทธศาสนา. ใน คณาจารย์คณะมนุษย์ศาสตร์ (บรรณาธิการ.), วารสารนิติศาสตร์ รพี ๕๐ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี (หน้า. 86-95). กรุงเทพฯ: นิติศาสตร์บันฑิต คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี.

      – เกียรติศักดิ์ บังเพลิง. (2554). สุนทรียศาสตร์ในมุมมองพุทธปรัชญาเถรวาท. วารสารพุทธศาสน์ศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ปีที่ 18 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2554, 31-46.

      – เกียรติศักดิ์ บังเพลิง. (2558). การประกอบสร้าง “ความเป็นบรู” ร่วมสมัยบนพื้นที่ชายแดนไทย-ลาว วารสารสังคมวิทยามานุษยวิทยา, 34 (1) : มกราคม-มิถุนายน 2558, 31-55.

      – เกียรติศักดิ์ บังเพลิง. (2558). ชุมชนชาติพันธุ์ “บรู” ร่วมสมัยบนพื้นที่ชายแดนไทย-ลาว: วิถีชีวิตและการปรับตัวทางวัฒนธรรม. (ดุษฎีนิพนธ์ สาขาวิชามานุษยวิทยา), มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กรุงเทพฯ.  

      – เกียรติศักดิ์ บังเพลิง. (2559). “การคืนฮีต” : กลุ่มชาติพันธุ์บรูกับพลวัตของระบบความเชื่อดั้งเดิมในวัฒนธรรมพุทธศาสนา. วารสารสังคมวิทยามานุษยวิทยา, 34 (1) : กรกฎาคม-ธันวาคม 2559, 73-93.

      – เกียรติศักดิ์ บังเพลิง. (2561). ตำนาน “พระแก้วผลึกหมอก” : การเปรียบเทียบความหมายในบริบทวัฒนธรรมสยาม บรู และลาว. วารสารศิลปศาสตร์, ปีที่ 18 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม-มิถุนายน 2561, 196-220.

      – เกียรติศักดิ์ บังเพลิง. (2561). พระครูโพนสะเม็ก : ตัวตนทางประวัติศาสตร์และบทบาทพุทธศาสนากับสังคมการเมือง. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 (กรกฏาคม-ธันวาคม 2561), หน้า 131-142.

      – เกียรติศักดิ์ บังเพลิง. (2561). พิธีระเปิป : “สภาวะระหว่าง/ชายขอบ” กับโครงสร้างวัฒนธรรมของข่าพระแก้ว. วารสารดำรงวิชาการ, ปีที่ 17 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2561), หน้า 145-174.

      – เกียรติศักดิ์ บังเพลิง. (2562). จำปาสัก : พลวัตวัฒนธรรมพุทธศาสนากับการปะทะปฏิสัมพันธ์ทางชาติพันธุ์ (พุทธทศวรรษ 2250-2450). วารสารภาษา ศาสนาและวัฒนธรรม, ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2562, หน้า 269-288.

      – เกียรติศักดิ์ บังเพลิง. (2559). พุทธศาสนาในบริบทการธำรงชาติพันธุ์และการสร้างสำนึกรัฐชาติ : กรณีศึกษาชุมชนชาติพันธุ์บรูบนพื้นที่ชายแดนไทย-ลาว, ใน สุชาดา พงศ์กิตติวิบูลย์ และคณะกรรการสังคมศาสตร์ “เอกภาพและความหลากหลายในมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์” ชลบุรี: คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

      – เกียรติศักดิ์ บังเพลิง. (2559). ชาวบรู: การปรับตัวต่อรองและภาวการณ์กลายเป็นทางชาติพันธุ์ในยุคร่วมสมัย ใน ชยันต์ วรรธนะภูติ และคณะ (บรรณาธิการ), รวมบทความการประชุมระดับชาติวิถีชาติพันธุ์ในอีสาน:“ภาวการณ์กลายเป็น”ในกระแสการเปลี่ยนแปลงสู่เสรีนิยมใหม่ 7-8 เมษายน 2559 ณ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (หน้า 542-569). เชียงใหม่ : ศูนย์ศึกษาชาติพันธุ์และการพัฒนา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

      – เกียรติศักดิ์ บังเพลิง. (2558). วิถีชีวิตและการปรับตัวทางวัฒนธรรมของชาวบรูบนพื้นที่ไทย-ลาวในยุคร่วมสมัย. ใน รัตนะ ปัญญาภา (บรรณาธิการ), การประชุมวิชาการระดับชาติด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ครั้งที่ ๓ (น. 257-272). อุบลราชธานี: ทองพูลทรัพย์การพิมพ์

      – เกียรติศักดิ์ บังเพลิง.  (2558). “บรู: อำนาจ พื้นที่ และพลวัต  ชาติพันธุ์” นำเสนอในการบรรยายอาเซียนประเด็นชาติพันธุ์ในอาเซียน โดยศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร กันยายน 2558

      – เกียรติศักดิ์ บังเพลิง. (2561). พระแก้วผลึกหมอก : สัญลักษณ์ศักดิ์สิทธิ์กับพลวัติชาติพันธุ์ของความเป็น “ข่าพระแก้ว”. Paper presented at the การประชุมวิชาการประจำปีด้านมานุษยวิทยาและสังคมวิทยา ครั้งที่ 1 ภายใต้หัวข้อ “เชื่อม ข้าม เผชิญหน้า ณ จุดตัด” (connectivity, crossing, and Encouters at the Nexusese) ระหว่างวันที่ 24-25 สิงหาคม 2561, ณ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์กรมหาชน)

หนังสือ

      – เกียรติศักดิ์ บังเพลิง. (2562). วิถีตะวันออก-ตะวันตก : ศาสนาและปรัชญาเบื้องต้นในโลกตะวันออกและตะวันตก. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ Protext

ภาษาอังกฤษ

      – Bangperng, K. (2020). Champasak: Dhammayuttika Nikaya and Maintenance of Power of the Thai State (Buddhist Decade 2390-2450)”. International Journal of Innovation, Creativity and Change, Volume 13 (Issue 12, 2020), 1158-1174 (scopus).

หน่วยงานภายใน

กองแผนงาน

กองการเจ้าหน้าที่

กองกิจการนิสิต

กองคลังและพัสดุ

กองบริการศึกษา

บัณฑิตวิทยาลัย

สำนักงานวิทยบริการ

สำนักคอมพิวเตอร์

สำนักศึกษาทั่วไป

หน่วยงานภายนอก

สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)

กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.)

เมนูหลัก

หน้าหลัก

เกี่ยวกับคณะ

บุคลากร

หลักสูตรปริญญาตรี

หลักสูตรปริญญาโท

หลักสูตรปริญญาเอก

งานวิจัย

คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ตำบลขามเรียง อำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม
รหัสไปรษณีย์ 44150

โทรศัพท์ : 043-754-369
เบอร์ภายใน : 4704 , 4703
มือถือ : 089-710-4115
E-mail : [email protected]

Copyright © 2022-2024 human.msu.ac.th All rights reserved.

ผู้ดูแลเว็บไซต์ : นายอรรถสิทธิ์ ศรีรักษ์
E-mail : [email protected]
เบอร์โทรศัพท์ : 091-132-7411 , 4717 (ภายใน)

 

104868
Views This Year : 149246

Pin It on Pinterest